กําหนดการเสวนาวิชาการนานาชาติเรื่องการประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้

TH EN

การเสวนาวิชาการนานาชาติ

เรื่อง นวัตกรรมการประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้

วันที่ 14 – 16 มีนาคม 2566
ณ โรงแรม The Quarter Hotel Ladprao by UHG และช่องทางออนไลน์

Introduction

กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.)
ร่วมกับมูลนิธิ Creativity, Culture and
Education (CCE) จัดให้มีเวทีเสวนาวิชาการ
นานาชาติ เรื่องนวัตกรรมการประเมินผลลัพธ์
การเรียนรู้โดยมีจุดมุ่งหมายในการ สํารวจ
แนวทางและเครื่องมือการประเมินผลซึ่งได้รับ
การพัฒนาและใช้วัดและประเมินผลลัพธ์
การเรียนรู้ในระดับประถมศึกษาโดยจะมุ่งเน้น
ไปที่เครื่องมือการประเมินผลที่สามารถวัดผลลัพธ์
การเรียนรู้ นอกเหนือไปจากการวัดความรู้
(knowledge) เช่น คุณค่าที่ยึดถือ ทัศนคติ ทักษะ
การบริหารจัดการตน (executive function)
ทักษะทางอารมณ์และสังคม สมรรถนะ ฯลฯ
โดย กสศ. ได้เชิญหน่วยงานในระดับนานาชาติ
ที่มีเครื่องมือการวัดและประเมินผลที่น่าสนใจกว่า
10 หน่วยงาน เข้าร่วมเวทีเสวนาในครั้งนี้

Introduction

กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) ร่วมกับมูลนิธิ Creativity, Culture and Education (CCE) จัดให้มีเวทีเสวนาวิชาการนานาชาติเรื่องนวัตกรรมการประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ โดยมีจุดมุ่งหมายในการ สํารวจแนวทางและเครื่องมือการประเมินผลซึ่งได้รับการพัฒนาและใช้วัดและประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ในระดับประถมศึกษาโดยจะมุ่งเน้นไปที่เครื่องมือการประเมินผลที่สามารถวัดผลลัพธ์การเรียนรู้ นอกเหนือไปจากการวัดความรู้ (knowledge) เช่น คุณค่าที่ยึดถือ ทัศนคติ ทักษะการบริหารจัดการตน (executive function) ทักษาทางอารมณ์และสังคม สมรรถนะ ฯลฯ โดย กสศ. ได้เชิญหน่วยงานในระดับนานาชาติที่มีเครื่องมือการวัดและประเมินผลที่น่าสนใจกว่า 10 หน่วยงาน เข้าร่วมเวทีเสวนาในครั้งนี้

Expected Outcomes

กสศ. คาดหวังว่าทั้งผู้พัฒนา (developer) และผู้ใช้งาน (user) ของเครื่องมือการวัดและประเมินผล เช่น ผู้กําหนดนโยบาย นักวิจัย ผู้นําโรงเรียน และครู จะได้รับประโยชน์จากการเข้าร่วม เสวนาฯ ดังนี้

Expected Outcomes

กสศ. คาดหวังว่าทั้งผู้พัฒนา (developer) และผู้ใช้งาน (user) ของเครื่องมือการวัดและประเมินผล เช่น
ผู้กําหนดนโยบาย นักวิจัย ผู้นําโรงเรียน และครู จะได้รับประโยชน์จากการเข้าร่วม เสวนาฯ ดังนี้

Speakers

ผู้จัดการกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.)

ที่ปรึกษาคณะกรรมการบริหารกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.)

รักษาการผู้อำนวยการสํานักทดสอบทางการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)

ผู้อำนวยการสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (สทศ.)

Researcher, Thailand Development Research Institute (TDRI)

Director of Center for the Development of Inclusion Technologies (CEDETI), Pontificia Universidad Catolica de Chile

ผู้อำนวยการ สถาบันวิจัยเพื่อการประเมินและออกแบบนโยบาย (RIPED) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

SEA-PLM Project Manager / Policy and Programme Specialist

Professor of Psychology at Université de Paris Cité and President of the International Society for the Study of Creativity and Innovation (ISSCI)

Policy Analyst, Organisation for Economic Co-operation and
Development (OECD)

Director of IEA Amsterdam, International Association for the
Evaluation of Educational Achievement (IEA)

Senior Research Fellow, Australian Council for Educational
Research (ACER)

Director, Centre for Interdisciplinary Studies of Children, University of the Western Cape

Chief Research Officer, Beyond Education

Assistant Professor, University of British Columbia, MDI Principal Investigator

Director of Hong Kong Centre for International Student Assessment, The Chinese University of Hong Kong

Agenda

8.30 – 9.00 น. ลงทะเบียน
9.00 – 9.30 น. กล่าวต้อนรับผู้ร่วมประชุม
โดย ดร.อุดม วงษ์สิงห์ ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาคุณภาพครูและสถานศึกษา กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.)
9.10 – 9.45 น. กล่าวเปิดเวทีเสวนา “คุณค่าของการประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้”
Opening Remarks “The value of learning outcomes assessments”
โดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช ที่ปรึกษาคณะกรรมการบริหาร กสศ.
9.45 – 9.50 น.ถ่ายภาพร่วมกัน
9.50 – 10.35 น.“การวัดและประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับชาติในประเทศไทย”
“Large scale assessments in Thailand”

โดย ดร.ชนาธิป ทุ้ยแป รักษาการผู้อำนวยการสำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ร่วมกับ ผศ.ดร.ศิริดา บุรชาติ ผู้อำนวยการสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (สทศ.)
พักรับประทานอาหารว่าง
10.45 – 12.00 น.“การพัฒนาเครื่องมือการประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้สำหรับโรงเรียนพัฒนาตนเอง”
“Developing and Implementing Assessments for Teacher-School Development Programme”

โดย นายณัฐวุฒิ เพิ่มจิตร นักวิจัย สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI)
พักรับประทานอาหารเที่ยง
13.00 – 13.15 น.“ความสำคัญของนวัตกรรมการประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้กับภารกิจของ กสศ. และ หน่วยงานภาคี”
โดย ดร.ไกรยส ภัทราวาท ผู้จัดการกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.)
13.15 – 14.30 น.“การตรวจสอบคุณภาพการประเมิน Executive Functions ผ่านการเล่น Yellow-Red application: บทเรียนจากประเทศชิลีและประเทศไทย”
“Playful assessment of executive functions with Yellow-Red application: validation data with Chilean and Thai children”

โดย Prof. Ricardo Rosas, Director of Center for the Development of Inclusion Technologies (CEDETI), Pontificia Universidad Catolica de Chile และ
รศ.ดร. วีระชาติ กิเลนทอง ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยเพื่อการประเมินและออกแบบนโยบาย (RIPED) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
พักรับประทานอาหารว่าง
14.45 – 16.00 น.“การติดตามและการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานในกลุ่มประเทศอาเซียน: โครงการวัดผลการเรียนรู้ระดับประถมศึกษาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้”
“Monitoring and Developing ASEAN Basic Education: Southeast Asia Primary Learning Metrics (SEA-PLM)”

โดย Alejandro S. Ibañez, SEA-PLM Project Manager / Policy and Programme Specialist, SEA-PLM Secretariat / SEAMEO Secretariat และ Antoine Marivin, SEA-PLM Senior Project Manager, SEA-PLM Secretariat / UNICEF East Asia and Pacific Regional Office (EAPRO)
16.00 – 17.15 น.“การประเมินศักยภาพด้านความคิดสร้างสรรค์”
“Evaluation of Potential Creativity (EPoC)”

โดย Prof. Todd Lubart, Professor of Psychology at Université de Paris Cité and Director of the Laboratory LaPEA (Laboratoire de Psychologie et d’Ergonomie Appliquées)
8.30 – 9.00 น. ลงทะเบียน
9.00 – 9.15 น.ตอบคำถามและข้อคิดเห็นจากผู้ชมทางช่องทางออนไลน์
9.15 – 11.15 น.“การสำรวจทักษะอารมณ์สังคม และนวัตกรรมการวัดและประเมินผล”
“The Survey on Social and Emotional Skills (SSES) and Innovative Assessments”

โดย Dr. Hannah Ulferts, Policy Analyst, Organisation for Economic Co-operation and Development (OECD)
11.30 – 12.30 น.“การประเมินแนวโน้มการศึกษานานาชาติ: การทดสอบ TIMSS (คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์), PIRLS (การอ่าน), ICCS (สิทธิหน้าที่ความเป็นพลเมือง) และอื่น ๆ” ช่วงที่ 1
“IEA International Comparative Trend Assessments: TIMSS (mathematics and science), PIRLS (reading literacy), ICCS (civics and citizenship), and beyond” Part 1

โดย Dr. Andrea Netten, Director of International Association for the Evaluation of Educational Achievement (IEA) Amsterdam
พักรับประทานอาหารเที่ยง
13.30 – 14.30 น.“การประเมินแนวโน้มการศึกษานานาชาติ: การทดสอบ TIMSS (คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์), PIRLS (การอ่าน), ICCS (สิทธิหน้าที่ความเป็นพลเมือง) และอื่น ๆ” ช่วงที่ 2
“IEA International Comparative Trend Assessments: TIMSS (mathematics and science), PIRLS (reading literacy), ICCS (civics and citizenship), and beyond” Part 2

โดย Dr. Andrea Netten, Director of International Association for the Evaluation of Educational Achievement (IEA) Amsterdam
พักรับประทานอาหารว่าง
พักรับประทานอาหารว่าง
14.45 – 16.45 น.“การวัดและการผสมผสานทักษะที่จำเป็นต่อการเรียนรู้”
“Assessing and Integrating Essential Skills for Learning”

โดย Dr. Claire Scoular, Senior Research Fellow, Australian Council for Educational Research (ACER)
8.30 – 9.00 น. ลงทะเบียน
9.00 – 9.15 น.ตอบคำถามและข้อคิดเห็นจากผู้ชมทางช่องทางออนไลน์
9.15 – 10.30 น.“การสำรวจสุขภาวะของเด็กระดับนานาชาติ (ISCWeB) โดย Children’s Worlds: จากการสำรวจสู่ความเข้าใจเรื่อง มุมมอง ชีวิต และสุขภาวะของเด็ก”
“The Children’s Worlds International Survey of Children’s Well-Being: Towards an Understanding of Children’s Perspectives and Views of their Lives and Well-Being”

โดย Prof. Shazly Savahl, Director, Centre for Interdisciplinary Studies of Children, Families and Society, University of the Western Cape, South Africa
พักรับประทานอาหารว่าง
10.45 – 12.00 น.“เครื่องมือ The Competency Calculator : สมรรถนะในศตวรรษที่ 21”
“The Competency Calculator: 21st Century Competencies”

โดย Dr. Nathan Roberson, Chief Research Officer, Beyond Education
พักรับประทานอาหารเที่ยง
13.00 – 14.15 น.“การวัดพัฒนาการทางสังคมและอารมณ์กับทักษะเชิงพฤติกรรมโดยเครื่องชี้วัดพัฒนาการสำหรับเด็กในช่วงกึ่งกลางวัยเรียน”
“Measuring Students’ Social and Emotional Development and Non-cognitive skills with the Middle Years Development Instrument (MDI)”

โดย Dr. Eva Oberle, Assistant Professor, MDI Principal Investigator, Human Early Learning Partnership, University of British Columbia
14.15 – 15.30 น.“การใช้ประโยชน์จากข้อมูลการประเมินผล: การพัฒนานโยบายจากหลักฐานเชิงประจักษ์”
“Making the most of assessment data: pursuing evidence-based policies”

โดย Prof. Esther Ho Sui-chu, Director of Hong Kong Centre for International Student Assessment, Department of Education Administration & Policy, The Chinese University of Hong Kong
พักรับประทานอาหารว่าง
15.45 – 17.00 น.“สะท้อนการเรียนรู้ สู่การยกระดับการวัดและประเมินผลในประเทศไทย”
ดำเนินรายการโดย กสศ.

8.30 – 9.00 น. ลงทะเบียน
9.00 – 9.30 น. กล่าวต้อนรับผู้ร่วมประชุม
โดย ดร.อุดม วงษ์สิงห์ ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาคุณภาพครูและสถานศึกษา กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.)
9.10 – 9.45 น. กล่าวเปิดเวทีเสวนา “คุณค่าของการประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้”
Opening Remarks “The value of learning outcomes assessments”
โดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช ที่ปรึกษาคณะกรรมการบริหาร กสศ.
9.45 – 9.50 น.ถ่ายภาพร่วมกัน
9.50 – 10.35 น.“การวัดและประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับชาติในประเทศไทย”
“Large scale assessments in Thailand”

โดย ดร.ชนาธิป ทุ้ยแป รักษาการผู้อำนวยการสำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ร่วมกับ ผศ.ดร.ศิริดา บุรชาติ ผู้อำนวยการสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (สทศ.)
พักรับประทานอาหารว่าง
10.45 – 12.00 น.“การพัฒนาเครื่องมือการประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้สำหรับโรงเรียนพัฒนาตนเอง”
“Developing and Implementing Assessments for Teacher-School Development Programme”

โดย นายณัฐวุฒิ เพิ่มจิตร นักวิจัย สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI)
พักรับประทานอาหารเที่ยง
13.00 – 13.15 น.“ความสำคัญของนวัตกรรมการประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้กับภารกิจของ กสศ. และ หน่วยงานภาคี”
โดย ดร.ไกรยส ภัทราวาท ผู้จัดการกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.)
13.15 – 14.30 น.“การตรวจสอบคุณภาพการประเมิน Executive Functions ผ่านการเล่น Yellow-Red application: บทเรียนจากประเทศชิลีและประเทศไทย”
“Playful assessment of executive functions with Yellow-Red application: validation data with Chilean and Thai children”

โดย Prof. Ricardo Rosas, Director of Center for the Development of Inclusion Technologies (CEDETI), Pontificia Universidad Catolica de Chile และ
รศ.ดร. วีระชาติ กิเลนทอง ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยเพื่อการประเมินและออกแบบนโยบาย (RIPED) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
พักรับประทานอาหารว่าง
14.45 – 16.00 น.“การติดตามและการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานในกลุ่มประเทศอาเซียน: โครงการวัดผลการเรียนรู้ระดับประถมศึกษาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้”
“Monitoring and Developing ASEAN Basic Education: Southeast Asia Primary Learning Metrics (SEA-PLM)”

โดย Alejandro S. Ibañez, SEA-PLM Project Manager / Policy and Programme Specialist, SEA-PLM Secretariat / SEAMEO Secretariat และ Antoine Marivin, SEA-PLM Senior Project Manager, SEA-PLM Secretariat / UNICEF East Asia and Pacific Regional Office (EAPRO)
16.00 – 17.15 น.“การประเมินศักยภาพด้านความคิดสร้างสรรค์”
“Evaluation of Potential Creativity (EPoC)”

โดย Prof. Todd Lubart, Professor of Psychology at Université de Paris Cité and Director of the Laboratory LaPEA (Laboratoire de Psychologie et d’Ergonomie Appliquées)
8.30 – 9.00 น. ลงทะเบียน
9.00 – 9.15 น.ตอบคำถามและข้อคิดเห็นจากผู้ชมทางช่องทางออนไลน์
9.15 – 11.15 น.“การสำรวจทักษะอารมณ์สังคม และนวัตกรรมการวัดและประเมินผล”
“The Survey on Social and Emotional Skills (SSES) and Innovative Assessments”

โดย Dr. Hannah Ulferts, Policy Analyst, Organisation for Economic Co-operation and Development (OECD)
11.30 – 12.30 น.“การประเมินแนวโน้มการศึกษานานาชาติ: การทดสอบ TIMSS (คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์), PIRLS (การอ่าน), ICCS (สิทธิหน้าที่ความเป็นพลเมือง) และอื่น ๆ” ช่วงที่ 1
“IEA International Comparative Trend Assessments: TIMSS (mathematics and science), PIRLS (reading literacy), ICCS (civics and citizenship), and beyond” Part 1

โดย Dr. Andrea Netten, Director of International Association for the Evaluation of Educational Achievement (IEA) Amsterdam
พักรับประทานอาหารเที่ยง
13.30 – 14.30 น.“การประเมินแนวโน้มการศึกษานานาชาติ: การทดสอบ TIMSS (คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์), PIRLS (การอ่าน), ICCS (สิทธิหน้าที่ความเป็นพลเมือง) และอื่น ๆ” ช่วงที่ 2
“IEA International Comparative Trend Assessments: TIMSS (mathematics and science), PIRLS (reading literacy), ICCS (civics and citizenship), and beyond” Part 2

โดย Dr. Andrea Netten, Director of International Association for the Evaluation of Educational Achievement (IEA) Amsterdam
พักรับประทานอาหารว่าง
พักรับประทานอาหารว่าง
14.45 – 16.45 น.“การวัดและการผสมผสานทักษะที่จำเป็นต่อการเรียนรู้”
“Assessing and Integrating Essential Skills for Learning”

โดย Dr. Claire Scoular, Senior Research Fellow, Australian Council for Educational Research (ACER)
8.30 – 9.00 น. ลงทะเบียน
9.00 – 9.15 น.ตอบคำถามและข้อคิดเห็นจากผู้ชมทางช่องทางออนไลน์
9.15 – 10.30 น.“การสำรวจสุขภาวะของเด็กระดับนานาชาติ (ISCWeB) โดย Children’s Worlds: จากการสำรวจสู่ความเข้าใจเรื่อง มุมมอง ชีวิต และสุขภาวะของเด็ก”
“The Children’s Worlds International Survey of Children’s Well-Being: Towards an Understanding of Children’s Perspectives and Views of their Lives and Well-Being”

โดย Prof. Shazly Savahl, Director, Centre for Interdisciplinary Studies of Children, Families and Society, University of the Western Cape, South Africa
พักรับประทานอาหารว่าง
10.45 – 12.00 น.“เครื่องมือ The Competency Calculator : สมรรถนะในศตวรรษที่ 21”
“The Competency Calculator: 21st Century Competencies”

โดย Dr. Nathan Roberson, Chief Research Officer, Beyond Education
พักรับประทานอาหารเที่ยง
13.00 – 14.15 น.“การวัดพัฒนาการทางสังคมและอารมณ์กับทักษะเชิงพฤติกรรมโดยเครื่องชี้วัดพัฒนาการสำหรับเด็กในช่วงกึ่งกลางวัยเรียน”
“Measuring Students’ Social and Emotional Development and Non-cognitive skills with the Middle Years Development Instrument (MDI)”

โดย Dr. Eva Oberle, Assistant Professor, MDI Principal Investigator, Human Early Learning Partnership, University of British Columbia
14.15 – 15.30 น.“การใช้ประโยชน์จากข้อมูลการประเมินผล: การพัฒนานโยบายจากหลักฐานเชิงประจักษ์”
“Making the most of assessment data: pursuing evidence-based policies”

โดย Prof. Esther Ho Sui-chu, Director of Hong Kong Centre for International Student Assessment, Department of Education Administration & Policy, The Chinese University of Hong Kong
พักรับประทานอาหารว่าง
15.45 – 17.00 น.“สะท้อนการเรียนรู้ สู่การยกระดับการวัดและประเมินผลในประเทศไทย”
ดำเนินรายการโดย กสศ.

วันที่จัดงาน



ภาษาในการนําเสนอและล่ามแปลภาษา

การนำเสนอจะมีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษขึ้นอยู่กับความถนัดของผู้นำเสนอ โดยจะมีล่ามแปลภาษา (simultaneous interpretation) ตลอดทั้งงาน


Download

Scoping paper on learning outcome assessment at primary level

การเสวนาวิชาการนานาชาติ เรื่อง นวัตกรรมการประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ (International Seminar on Pupil Outcomes Assessments)

กำหนดการเสวนาวิชาการนานาชาติ เรื่อง นวัตกรรมการประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้